ภาษาเขิน แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *kɤwꟲ, จากภาษาจีนยุคกลาง (MC kjuwX), จากภาษาจีนเก่า (OC *kuʔ), จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *d/s-kəw; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เก้า, ภาษาลาว ເກົ້າ (เก็้า), ภาษาคำเมือง ᨠᩮᩢ᩶ᩣ (เกั้า), ภาษาไทลื้อ ᦂᧁᧉ (เก้า), ภาษาไทดำ ꪹꪀ꫁ꪱ (เก้า), ภาษาไทใหญ่ ၵဝ်ႈ (ก้ว), ภาษาไทใต้คง ᥐᥝᥲ (เก้า), ภาษาอาหม 𑜀𑜧 (กว์), ภาษาปู้อี guz, ภาษาจ้วง gouj, ภาษาแสก กู̂

การออกเสียง แก้ไข

เลข แก้ไข

ᨠᩮᩢ᩶ᩣ (เกั้า)

  1. เก้า

ภาษาคำเมือง แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) เก้า

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *kɤwꟲ, จากภาษาจีนยุคกลาง (MC kjuwX), จากภาษาจีนเก่า (OC *kuʔ), จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *d/s-kəw; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เก้า, ภาษาลาว ເກົ້າ (เก็้า), ภาษาเขิน ᨠᩮᩢ᩶ᩣ (เกั้า), ภาษาไทลื้อ ᦂᧁᧉ (เก้า), ภาษาไทดำ ꪹꪀ꫁ꪱ (เก้า), ภาษาไทใหญ่ ၵဝ်ႈ (ก้ว), ภาษาไทใต้คง ᥐᥝᥲ (เก้า), ภาษาอาหม 𑜀𑜧 (กว์), ภาษาปู้อี guz, ภาษาจ้วง gouj, ภาษาแสก กู̂

การออกเสียง แก้ไข

เลข แก้ไข

ᨠᩮᩢ᩶ᩣ (เกั้า)

  1. เก้า