ดูเพิ่ม: เบ่ง

ภาษาไทย แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

ยืมมาจากภาษาอีสาน เบิ่ง, จากภาษาจีนยุคกลาง (MC mjang|mjangH) (ซึ่งเป็นรากของภาษาไทย มอง อีกด้วย)

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์
{ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น}
เบิ็่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงbə̀ng
ราชบัณฑิตยสภาboeng
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/bɤŋ˨˩/(สัมผัส)

คำกริยา แก้ไข

เบิ่ง (คำอาการนาม การเบิ่ง)

  1. จ้องดูอย่างเต็มตา
    เบิ่งตา
  2. แหงนหน้าดู

ภาษาอีสาน แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

จากภาษาจีนยุคกลาง (MC mjang|mjangH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย มอง, ภาษาลาว ເບິ່ງ (เบิ่ง) และ ມອງ (มอง), ภาษาไทลื้อ ᦙᦸᧂ (มอ̂ง), ภาษาไทใหญ่ မွင်း (ม๊อ̂ง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥒᥰ (ม๊อ̂ง)

คำกริยา แก้ไข

เบิ่ง (คำอาการนาม การเบิ่ง)

  1. มอง, ดู