ดูเพิ่ม: หม่า และ หม่ำ

ภาษาไทย แก้ไข

 
วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰmaːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩣ (หมา), ภาษาลาว ໝາ (หมา), ภาษาไทลื้อ ᦖᦱ (หฺมา), ภาษาไทดำ ꪢꪱ (หฺมา), ภาษาไทใหญ่ မႃ (มา), ภาษาไทใต้คง ᥛᥣᥴ (ม๋า), ภาษาอ่ายตน မႃ (มา), ภาษาอาหม 𑜉𑜠 (มะ), ภาษาจ้วง ma, ภาษาแสก หม่า; เทียบภาษาเบดั้งเดิม *maːᴬ¹, ภาษาไหลดั้งเดิม *hmaː (หมา; หมาล่าเนื้อ)

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์หฺมา
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmǎa
ราชบัณฑิตยสภาma
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/maː˩˩˦/(สัมผัส)

คำนาม แก้ไข

หมา (คำลักษณนาม ตัว)

  1. (บางครั้ง หยาบคาย) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Canidae ออกลูกเป็นตัว

คำพ้องความ แก้ไข

ดูที่ อรรถาภิธาน:หมา

คำประสม แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น แก้ไข

คำคุณศัพท์ แก้ไข

หมา

  1. (ภาษาปาก) เลว, (ชั้น) ต่ำ

คำกริยาวิเศษณ์ แก้ไข

หมา

  1. (ภาษาปาก) อย่างเลว, อย่าง (คนชั้น) ต่ำ

คำสลับอักษร แก้ไข

ภาษาคำเมือง แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

คำนาม แก้ไข

หมา (คำลักษณนาม ตั๋ว)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨾᩣ (หมา)

ภาษาปักษ์ใต้ แก้ไข

คำนาม แก้ไข

หมา

  1. ถังตักน้ำขึ้นจากบ่อ