ดูเพิ่ม: ยาง

ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ย่าง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงyâang
ราชบัณฑิตยสภาyang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/jaːŋ˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *jaːŋᴮ²; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ญ่าง หรือ ย่าง, ภาษาลาว ຍ່າງ (ย่าง), ภาษาไทลื้อ ᦍᦱᧂᧈ (ย่าง), ภาษาไทดำ ꪑ꪿ꪱꪉ (ญ่าง), ภาษาไทใหญ่ ယၢင်ႈ (ย้าง), ภาษาไทใต้คง ᥕᥣᥒ (ยาง), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง yangz, ภาษาจ้วง yangz

คำกริยา แก้ไข

ย่าง (คำอาการนาม การย่าง)

  1. ยกเท้าก้าวไป, เดิน
  2. เคลื่อนเข้าสู่
    ย่างเข้าหน้าหนาว
    อายุย่าง 20 ปี

คำพ้องความ แก้ไข

รากศัพท์ 2 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ˀjaːŋꟲ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *ˀjɯəŋꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຢ້າງ (อย้าง), ภาษาไทลื้อ ᦊᦱᧂᧉ (หฺย้าง), ภาษาไทใหญ่ ယၢင်ႈ (ย้าง), ภาษาไทใต้คง ᥕᥣᥒᥲ (ย้าง)

รูปแบบอื่น แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

ย่าง (คำอาการนาม การย่าง)

  1. ทำให้สุกด้วยการวางไว้เหนือไฟ เพื่อให้สุกระอุทั่วกัน หรือให้แห้ง มักใช้แก่ของสด โดยปรกติใช้เวลานานกว่าปิ้ง
    ย่างไก่
    ย่างหมู
คำแปลภาษาอื่น แก้ไข

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ย่าง

  1. ที่ทำให้สุกด้วยวิธีการวางไว้เหนือไฟ เพื่อให้สุกระอุทั่วกัน หรือให้แห้ง
    ไก่ย่าง
    หมูย่าง

ภาษาอีสาน แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *jaːŋᴮ²; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ย่าง, ภาษาลาว ຍ່າງ (ย่าง), ภาษาไทลื้อ ᦍᦱᧂᧈ (ย่าง), ภาษาไทดำ ꪑ꪿ꪱꪉ (ญ่าง), ภาษาไทใหญ่ ယၢင်ႈ (ย้าง), ภาษาไทใต้คง ᥕᥣᥒ (ยาง)

คำกริยา แก้ไข

ย่าง (คำอาการนาม การย่าง)

  1. เดิน