ดูเพิ่ม: ทอง, ท็อฺง, ท่อง, และ ท๋อง

ภาษาไทย แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *dwuːŋꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ท้อง, ภาษาลาว ທ້ອງ (ท้อง), ภาษาคำเมือง ᨴᩬ᩶ᨦ (ทอ้ง), ภาษาไทลื้อ ᦑᦸᧂᧉ (ท้อ̂ง), ภาษาไทดำ ꪕ꫁ꪮꪉ (ต้̱อง), ภาษาไทใหญ่ တွင်ႉ (ต๎อ̂ง), ภาษาจ้วง dungx, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง tongx

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ท้อง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงtɔ́ɔng
ราชบัณฑิตยสภาthong
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tʰɔːŋ˦˥/(สัมผัส)

คำนาม แก้ไข

ท้อง

  1. ส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่จนถึงบริเวณต้นขา มีสะดืออยู่ตรงกลาง มีกระเพาะและไส้พุงอยู่ภายใน
  2. ครรภ์
    น้องร่วมท้อง
  3. พื้นที่หรือบริเวณที่กว้างใหญ่
    ท้องน้ำ
    ท้องฟ้า
    ท้องทุ่ง
    ท้องไร่
    ท้องนา
    ท้องถนน
  4. ส่วนที่มีลักษณะโค้ง
    ท้องแขน
    ท้องน่อง
    ท้องเรือ
    ท้องร่อง

คำกริยา แก้ไข

ท้อง (คำอาการนาม การท้อง)

  1. (ภาษาปาก) มีลูกอยู่ในท้อง, ตั้งครรภ์

คำแปลภาษาอื่น แก้ไข

ภาษาญ้อ แก้ไข

คำนาม แก้ไข

ท้อง

  1. ท้อง