ภาษาไทย แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ดัง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdang
ราชบัณฑิตยสภาdang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/daŋ˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɗaŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨯᩢ᩠ᨦ (ดัง), ภาษาลาว ດັງ (ดัง), ภาษาไทลื้อ ᦡᧂ (ดัง), ภาษาไทใหญ่ လင်/ၼင် (ลัง/นัง) (ในคำ ၶူႈလင်/ၶူႈၼင် (ขู้ลัง/ขู้นัง)), ภาษาไทใต้คง ᥘᥒ (ลัง), ภาษาอ่ายตน ဒင် (ดง์) หรือ ꩫင် (นง์), ภาษาอาหม 𑜓𑜂𑜫 (ดง์) หรือ 𑜃𑜂𑜫 (นง์), ภาษาปู้อี ndangl, ภาษาจ้วง ndaeng, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง ndaeng (ดัง-จมูก)

รูปแบบอื่น แก้ไข

คำนาม แก้ไข

ดัง

  1. (โบราณ, ร้อยกรอง) ดั้ง, จมูก

รากศัพท์ 2 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɗaŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกัยภาษาจ้วง ndaeng

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ดัง (คำอาการนาม ความดัง)

  1. เกิดเสียงขึ้นหรือทำให้เสียงเกิดขึ้นอย่างแรง
    กลองดัง
    เสียงดัง
  2. (ภาษาปาก) มีชื่อเสียง
    นักร้องดัง
    นักการเมืองคนดัง
  3. (ภาษาปาก) เป็นที่รู้จักหรือโจษขานกันทั่วไป
    ละครเรื่องนี้ดังมาก
    ข่าวดัง

คำกริยาวิเศษณ์ แก้ไข

ดัง (คำอาการนาม ความดัง)

  1. ทำให้เสียงบังเกิดขึ้นอย่างแรง
    พูดดัง

รากศัพท์ 3 แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

คำบุพบท แก้ไข

ดัง

  1. เช่น, อย่าง, ราวกับ, คล้าย, เหมือน

ภาษาคำเมือง แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

ดัง (คำอาการนาม ก๋ารดัง หรือ ก๋านดัง)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨯᩢ᩠ᨦ (ดัง)

คำนาม แก้ไข

ดัง

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨯᩢ᩠ᨦ (ดัง)

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ดัง (คำอาการนาม กำดัง หรือ ความดัง)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨯᩢ᩠ᨦ (ดัง)

ภาษาญ้อ แก้ไข

คำนาม แก้ไข

ดัง

  1. จมูก

ภาษาอีสาน แก้ไข

คำนาม แก้ไข

ดัง

  1. จมูก

คำประสม แก้ไข