ภาษาไทย แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

เทียบภาษาจีนยุคกลาง (MC khjwonH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊວນ (ซวน), ภาษาไทใหญ่ သူၼ်း (สู๊น)

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ชวน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchuuan
ราชบัณฑิตยสภาchuan
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰua̯n˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงชวร

คำกริยา แก้ไข

ชวน (คำอาการนาม การชวน)

  1. จูงใจ, โน้มนำ
    ชวนกิน
  2. ชักนำ, ขอให้ทำตาม
    ชวนไปเที่ยว

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต जवन (ชวน, เร็ว) หรือ ภาษาบาลี ชวน (เร็ว)

รูปแบบอื่น แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์[เสียงสมาส]
ชะ-วะ-นะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchá-wá-ná-
ราชบัณฑิตยสภาcha-wa-na-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰa˦˥.wa˦˥.na˦˥./

คำนาม แก้ไข

ชวน

  1. (ภาษาหนังสือ) ความเร็ว, ความไว
  2. (ภาษาหนังสือ) ความเร็วของปัญญาหรือความคิด

ดูเพิ่ม แก้ไข