ดูเพิ่ม: ขำ, ข่า, และ ข้า

ภาษาไทย แก้ไข

 
วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia
 
ขา (อวัยวะ)

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ขา
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkǎa
ราชบัณฑิตยสภาkha
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰaː˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *qaːᴬ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *p.qaːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨡᩣ (ขา), ภาษาลาว ຂາ (ขา), ภาษาไทลื้อ ᦃᦱ (ฃา), ภาษาไทใหญ่ ၶႃ (ขา), ภาษาอาหม 𑜁𑜡 (ขา), ภาษาปู้อี gal, ภาษาจ้วง ga, ภาษาจ้วงใต้ ka; เทียบภาษาจีนเก่า (OC *kʰraːw, “ขา”), กลุ่มภาษาหมิ่น (“ขา; เท้า”), ภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม *paqa (ต้นขา)

คำนาม แก้ไข

ขา (คำลักษณนาม ข้าง หรือ คู่)

  1. อวัยวะของมนุษย์หรือสัตว์ที่ยื่นจากขาหนีบถึงข้อเท้า
คำแปลภาษาอื่น แก้ไข
ดูเพิ่ม แก้ไข

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คำนาม แก้ไข

  1. บุคคล, คน (ใช้คู่กับคำชี้เฉพาะ เช่น ขานี้ ขานั้น)[1]
    ขานี้อยู่แต่บ้าน ชวนไปไหนก็ไม่ไป

คำประสม แก้ไข

รากศัพท์ 3 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาจ้วงใต้ ha (คำสุภาพ)

คำสรรพนาม แก้ไข

ขา

  1. (โบราณ) บุคคลที่สามสองคน, เขาสองคน
ดูเพิ่ม แก้ไข

รากศัพท์ 4 แก้ไข

คำอนุภาค แก้ไข

ขา

  1. คำรับของผู้หญิง

อ้างอิง แก้ไข

  1. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, 2553. หน้า 21.