ภาษาไทย แก้ไข

 
วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์กก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgòk
ราชบัณฑิตยสภาkok
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kok̚˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

คำนาม แก้ไข

กก

  1. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว สะกดว่า แม่กก หรือ มาตรากก

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ກົກ (ก็ก), ภาษาไทดำ ꪶꪀꪀ (โกก)

คำนาม แก้ไข

กก

  1. โคน
    กกไม้
  2. ต้น
    กกขา
  3. ลำต้น
    กกเสา
คำประสม แก้ไข

รากศัพท์ 3 แก้ไข

คำนาม แก้ไข

กก

  1. ชื่อไม้ล้มลุกในวงศ์ Cyperaceae เกิดในที่ชุ่มแฉะ ชนิดลำต้นกลม ใช้ทอหรือสานเสื่อ เรียกว่า กกกลม หรือ กกเสื่อ (Cyperus corymbosus Rottb., C. tegetiformis Roxb.) ที่ลำต้นเป็นสามเหลี่ยม เช่น กกลังกา (C. alternifolius L.) กกสามเหลี่ยม [Schoenoplectus grossus (L.f.) Palla] กกขนาก หรือ กกกระหนาก (C. difformis L.)

รากศัพท์ 4 แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

กก (คำอาการนาม การกก)

  1. แนบไว้กับอก โดยปรกติเป็นอิริยาบถนอน
    กกกอด
    กกไข่
    กกลูก
  2. โดยปริยายหมายความว่า เก็บนิ่งไว้นานเกินควร
    เอาเรื่องไปกกไว้

รากศัพท์ 5 แก้ไข

คำนาม แก้ไข

กก

  1. ซอกด้านในหรือซอกด้านหลังของบานประตูหรือหน้าต่าง, ถ้าเป็นด้านหลังของแผ่นบานประตู เรียกว่า กกประตู, ถ้าเป็นด้านหลังของแผ่นบานหน้าต่าง เรียกว่า กกหน้าต่าง

รากศัพท์ 6 แก้ไข

คำนาม แก้ไข

กก

  1. กะวะ, ชื่อนกเงือกชนิด Buceros bicornis

คำสลับอักษร แก้ไข

ภาษาคำเมือง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

กก (คำอาการนาม ก๋ารกก หรือ ก๋านกก)

  1. ตัด, บั่น
    กกกิ่งตัดกิ่ง
    กกยอดตัดยอด

ภาษาญ้อ แก้ไข

คำคุณศัพท์ แก้ไข

กก

  1. ต้น, แรก

ภาษาอูรักลาโวยจ แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

คำนาม แก้ไข

กก

  1. กระดูกงูเรือ