ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาคผนวก:อภิธานศัพท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 10:
; คุณศัพท์, คำ–
: คำที่ใช้แสดงลักษณะหรือสมบัติเพิ่มเติมของคำนาม เช่น ใหญ่ เล็ก ดำ ขาว สูง ต่ำ (=adjective)
 
== ต ==
; ไตรพจน์
: คำที่ใช้กับวัตถุที่มีสามสิ่งหรือสามบุคคล (=trial)
 
== ท ==
; ทวิพจน์
: คำที่ใช้กับวัตถุที่มีสองสิ่งหรือสองบุคคล (=dual)
 
== น ==
เส้น 24 ⟶ 32:
; ปัจฉิมบท, คำ–
: คำที่ใช้บ่งชี้ตำแหน่ง สถานที่ หรือสภาพของวัตถุหรือกิริยาอาการ เหมือนคำบุพบทแต่เขียนไว้หลังคำนาม คำสรรพนาม หรือคำกริยา (=postposition)
 
== พ ==
; พหูพจน์
: คำที่ใช้กับวัตถุที่มีหลายสิ่งหรือหลายบุคคล (=plural)
 
== ล ==
เส้น 51 ⟶ 63:
: คำที่ใช้แสดงการอุทาน เช่น อุ๊ย เอ๋ โอ ส่วนมากไม่มีความหมาย แต่แสดงถึงอารมณ์ของผู้พูด (=interjection)
; เอกพจน์
: คำที่ใช้กับวัตถุที่มีสิ่งเดียวหรือเป็นเอกเทศบุคคลเดียว (=singular)
 
[[หมวดหมู่:วิกิพจนานุกรม:การอ้างอิง]]