เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัดที่ 19:
== การเรียงลำคับตัวอักษรธรรมล้านนา (collating order) ตามหลักยูนิโค้ด ==
ดูเพิ่มที่ https://www.unicode.org/L2/L2007/07007r-n3207r-lanna.pdf
* สระ เอีย กับ อัว (ถ้าลืมให้ใช้ "เมีย" กับ "ผัว" เป็นตัวช่วยจำ): ให้สันนิษฐานว่า ย กับ ว เป็นพยัญชนะ ตัวที่เป็นส่วนหนึ่งสองของพยัญชนะควบกล้ำ จึงต้องเรียงก่อน เ- และ ไม้กง ตามลำดับ เช่น {{l|nod|ᩈ᩠ᨿᩮ||เสีย}} คือ ส + ย สะกด + เ- และ {{l|nod|ᨲ᩠ᩅᩫ||ตัว}} คือ ต + ว สะกด + ไม้กง
::*ถ้ามีไม้วรรณยุกต์ ให้เขียนหลังพยัญชนะควบกล้ำ เหมือนดั่งที่ ในภาษาไทย พยัญชนะควบกล้ำทั่วไปที่ไม้วรรณยุกต์ ต้องเขียนไว้บนพยัญชนะต้นตัวที่สอง ยกตัวอย่าง เสี้ยง กับ ม่วน เพราะ ย กับ ว ได้สันนิษฐานว่าเป็นเหมือน ร ล ว ใน ครั้ง, กล้า, กว้าง ตามลำดับ คำว่า เสี้ยง ({{l|nod|ᩈ᩠ᨿ᩶ᨦ}}) กับ ม่วน ({{l|nod|ᨾ᩠ᩅ᩵ᩁ}}) จึงต้องเขียน ส + ย สะกด + ไม้โท + ง และ ม + ว สะกด + ไม้เอก + ร ตามลำดับ
* สระใต้พยัญชนะต้องเรียงก่อนสระข้างบน เช่น {{l|nod|ᨠᩬᩴ}} คือ ก + อ + -ํ
* สระ อำ ถ้าไม่มีไม้วรรณยุกต์ ให้เขียน -า ก่อน -ํ เช่น {{l|nod|ᨠᩣᩴ}} คือ ก + -า + -ํ ถ้ามีไม้วรรณยุกต์ ให้เขียนบนตัวพยัญชนะก่อนเขียน -า เช่น ถ้ำ กับ น้ำ คือ ถ + ไม้โท + -า + -ํ และ น + ไม้โท + -า + -ํ ตามลำดับ
 
== หน้าย่อย ==