เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขโดย 2001:44C8:4249:235F:1:2:E654:E065 (คุย) ไปยังรุ่นแก้ไขล่าสุดโดย Octahedron80
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัดที่ 1:
{{#babel:th|en-3|zh-1|cmn-1}}
🏠 วิกิพีเดียภาษาไทย และวิกิพจนานุกรมภาษาไทย🇹🇭󠁔󠁈 ประเทศไทย🎓 วทบศาสตร์คอมพิวเตอร์ และ บธ.บการตลาด🤖 [[ผู้ใช้:OctraBot]]😅 ขออภัยหากข้าพเจ้าแก้ไขหน้าใดหน้าหนึ่งมากครั้งเกินไ
 
* 🏠 วิกิพีเดียภาษาไทย และวิกิพจนานุกรมภาษาไทย
* 🇹🇭󠁔󠁈 ประเทศไทย
* 🎓 วท.บ. (ศาสตร์คอมพิวเตอร์) และ บธ.บ. (การตลาด)
* 🤖 [[ผู้ใช้:OctraBot]]
* 😅 ขออภัยหากข้าพเจ้าแก้ไขหน้าใดหน้าหนึ่งมากครั้งเกินไป
* 😵 ข้าพเจ้าทำงานกับหลายภาษาที่สามารถเรียนรู้ได้ง่าย
 
== หน้าย่อย ==
{{Special:PrefixIndex/{{NAMESPACE}}:{{BASEPAGENAME}}|stripprefix=1}}
 
== สถานะโครงการมีมาตรฐานรูปแบบการเขียนแล้ว แต่บางครั้งต้องสร้างแม่แบบของภาษาต่าง ๆ ขึ้นมาเฉพาะ เพราะไวยากรณ์ต่างกัน รูปแบบการเขียนของคำเก่า ๆ ต้องทยอยปรับปรุงไปเรื่อย ๆผู้ใช้กระตือรือร้นมีน้อย ผู้ดูแลนั่งตบยุง ไม่เพียงพอที่จะทำให้เกิดมติส่วนใหญ่ของโครงการได้ เท่าที่นับได้มีประมาณ 10 คน ต้องใช้วิธีลงคะแนนเสียงด้วยส่วนขยาย Cognate หน้าคำศัพท์ที่สะกดอย่างเดียวกันจะเชื่อมโยงกันทุก ๆ โครงการโดยปริยาย ลิงก์ข้ามภาษา'''ในหน้าคำศัพท์'''จึงไม่จำเป็นต้องมีอีกต่อไป (บางหน้ายังจำเป็น เช่นภาษามือ คำยาวมาก หรือคำที่ตั้งชื่อหน้าไม่ได้)หน้าอื่นนอกเหนือจากคำศัพท์ก็ไม่จำเป็นต้องทำลิงก์ข้ามภาษาแล้ว เพราะปัจจุบันสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ในวิกิสนเทศ แต่ต้องทำเองOctraBot เป็นบอตที่ใช้ระบบ pywikibot ทำงานบน Tool เพื่อการแก้ไขจำนวนมากที่ใช้มือไม่ได้มอดูล คือการใช้ภาษาลูอาทำงานร่วมกับโครงการวิกิ ซึ่งยืดหยุ่นกว่าแม่แบบมาก ส่วนมากใช้มอดูลของวิกิพจนานุกรมภาษาอังกฤษเป็นหมวดหมู่เริ่มที่จะเป็นระเบียบมากขึ้น แต่บางอย่างก็ไม่เหมาะสมที่จะใช้ในโครงการนี้ ต้องดัดแปลงหรือตัดออกมอดูลภาษา เช่น ชื่อภาษา การถอดอักษร การเรียงลำดับ ตระกูล/กลุ่ม บรรพบุรุษ ฯลฯ ค่อนข้างเปลี่ยนแปลงบ่อยมีมอดูลถอดอักษร และถอดการออกเสียงเป็น IPA มากขึ้น ผู้ใช้ทั่วไปไม่ต้องเขียนเองให้ลำบาก ==
== สถานะโครงการ ==
== ช่วยกันหน่อยลองดูรายชื่อหน้า คำที่มีหน้าอื่นลิงก์มามาก [[พิเศษ:หน้าที่ต้องการ]] เผื่อจะได้ไอเดีย[http://alpha.bond.in.th/word-input.php แบบฟอร์มป้อนคำสำหรับวิกิพจนานุกรมภาษาไทย][http://alpha.bond.in.th/word-input2.php แบบฟอร์มป้อนอักษรย่อสำหรับวิกิพจนานุกรมภาษาไทย]ช่วยเก็บกวาดการนิยามคำไทยรูปแบบเก่าให้เหมือนกันเป็นเอกภาพ (อันที่เลวร้ายเกินจะปรับปรุง จะลบเพื่อให้เขียนใหม่) ==
* มีมาตรฐานรูปแบบการเขียนแล้ว แต่บางครั้งต้องสร้างแม่แบบของภาษาต่าง ๆ ขึ้นมาเฉพาะ เพราะไวยากรณ์ต่างกัน รูปแบบการเขียนของคำเก่า ๆ ต้องทยอยปรับปรุงไปเรื่อย ๆ
== คำแนะนำการเขียนรากศัพท์ของคำประสม ควรตรวจก่อนว่าประสมมาแต่ภาษาต้นฉบับ หรือว่าไทยเอามาผสมเอง (ส่วนมากไทยผสมเอง)จำนวนคำในภาษาหนึ่งมีเป็นแสน ๆ ถ้าเขียนวันละคำชาตินี้ก็ไม่เสร็จ ดังนั้นควรเขียนวันละไม่ต่ำกว่า 100 คำระมัดระวังอักขระที่มองไม่เห็น สามารถสังเกตได้จาก URL หรือการถอดอักษร width space WSPควรตัดออกเพราะถูกใช้เป็นตัวตัดคำ/บรรทัดzero-width joiner ZWJและ zero-width non-joiner ZWNJควรคงไว้เพราะเกี่ยวกับการเปลี่ยนรูปอักษรเวลาไปเยี่ยมเยียนโครงการภาษาอื่น คนที่เป็นชาวพื้นถิ่นไม่ได้หมายความว่าจะสะกดคำในภาษาตนเองได้ถูกทุกคน ฉะนั้นควรเตรียมแหล่งอ้างอิงไปด้วยacronym ไม่รู้จะเรียกว่าอะไร เพราะไม่มีในภาษาไทย แต่มีในภาษาอื่น คล้ายอักษรย่อ แต่อ่านรวมกันเป็นพยางค์ใหม่ได้ เช่น UNESCO, OPEC, NASA ฯลฯ ศัพท์บัญญัติว่า รัสพจน์ แต่คนทั่วไปก็ไม่รู้จั อักษรย่อ เอาอักษรตัวหน้ามาแต่ไม่อ่านเป็นพยางค์ใหม่abbreviation คำย่อ ถูกตัดทอนให้สั้นลง shortening การย่อ หมวดหมู่ที่คลุมทั้งหมดตัวอักษรในภาษาไทดั้งเดิม ᴬ ᴮ ᶜ ᴰ ซึ่งใช้แทนวรรณยุกต์ แต่ว่า C ในรูปแบบตัวยกไม่มีในยูนิโคด จึงใช้ c แทนข้อความแจ้งเตือนข้อผิดพลาด และเอกสารกำกับ บางหมวดหมู่มีไว้เพื่อติดตามงานเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องสร้างขึ้นมาแม่แบบจะเรียกใช้มอดูลมากขึ้น เพราะมอดูลสามารถเขียนได้ยืดหยุ่นกว่า ใช้หน่วยความจำน้อยกว่า และดูแลง่ายกว่าเพราะใช้แม่แบบน้อยลงกว่าเดิม บางทีใช้แค่อันเดียว ==
* ผู้ใช้กระตือรือร้นมีน้อย ผู้ดูแลนั่งตบยุง ไม่เพียงพอที่จะทำให้เกิดมติส่วนใหญ่ของโครงการได้ เท่าที่นับได้มีประมาณ 10 คน ต้องใช้วิธีลงคะแนนเสียง
== บันทึก[[วิกิพจนานุกรม:รายชื่อภาษา]][[วิกิพจนานุกรม:รายชื่อตระกูลภาษาและกลุ่มภาษา]][[วิกิพจนานุกรม:รายชื่ออักษร]][[:หมวดหมู่:หน้าที่มีสคริปต์ผิดพลาด]][[:หมวดหมู่:หมวดหมู่ที่มีป้ายผิดพลาด|หมวดหมู่:หมวดหมู่ที่มีป้ายผิดพล]][[:หมวดหมู่:แม่แบบและมอดูลที่ต้องการเอกสารการใช้งาน]][http://beyond.library.tu.ac.th/cdm/ref/collection/trf_or_th/id/25113 here]==
* ด้วยส่วนขยาย Cognate หน้าคำศัพท์ที่สะกดอย่างเดียวกันจะเชื่อมโยงกันทุก ๆ โครงการโดยปริยาย ลิงก์ข้ามภาษา'''ในหน้าคำศัพท์'''จึงไม่จำเป็นต้องมีอีกต่อไป (บางหน้ายังจำเป็น เช่นภาษามือ คำยาวมาก หรือคำที่ตั้งชื่อหน้าไม่ได้)
* หน้าอื่นนอกเหนือจากคำศัพท์ก็ไม่จำเป็นต้องทำลิงก์ข้ามภาษาแล้ว เพราะปัจจุบันสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ในวิกิสนเทศ แต่ต้องทำเอง
* OctraBot เป็นบอตที่ใช้ระบบ pywikibot ทำงานบน Tool Labs เพื่อการแก้ไขจำนวนมากที่ใช้มือไม่ได้
* มอดูล คือการใช้ภาษาลูอาทำงานร่วมกับโครงการวิกิ ซึ่งยืดหยุ่นกว่าแม่แบบมาก ส่วนมากใช้มอดูลของวิกิพจนานุกรมภาษาอังกฤษเป็นต้นแบบ
** หมวดหมู่เริ่มที่จะเป็นระเบียบมากขึ้น แต่บางอย่างก็ไม่เหมาะสมที่จะใช้ในโครงการนี้ ต้องดัดแปลงหรือตัดออก
** มอดูลภาษา เช่น ชื่อภาษา การถอดอักษร การเรียงลำดับ ตระกูล/กลุ่ม บรรพบุรุษ ฯลฯ ค่อนข้างเปลี่ยนแปลงบ่อย
** มีมอดูลถอดอักษร และถอดการออกเสียงเป็น IPA มากขึ้น ผู้ใช้ทั่วไปไม่ต้องเขียนเองให้ลำบาก
 
== ช่วยกันหน่อย ==
* ลองดูรายชื่อหน้า (คำ) ที่มีหน้าอื่นลิงก์มามาก [[พิเศษ:หน้าที่ต้องการ]] เผื่อจะได้ไอเดีย
* [http://alpha.bond.in.th/word-input.php แบบฟอร์มป้อนคำสำหรับวิกิพจนานุกรมภาษาไทย]
* [http://alpha.bond.in.th/word-input2.php แบบฟอร์มป้อนอักษรย่อสำหรับวิกิพจนานุกรมภาษาไทย]
* ช่วยเก็บกวาดการนิยามคำไทยรูปแบบเก่าให้เหมือนกันเป็นเอกภาพ (อันที่เลวร้ายเกินจะปรับปรุง จะลบเพื่อให้เขียนใหม่)
 
== คำแนะนำ ==
* การเขียนรากศัพท์ของคำประสม ควรตรวจก่อนว่าประสมมาแต่ภาษาต้นฉบับ หรือว่าไทยเอามาผสมเอง (ส่วนมากไทยผสมเอง)
* จำนวนคำในภาษาหนึ่งมีเป็นแสน ๆ ถ้าเขียนวันละคำชาตินี้ก็ไม่เสร็จ ดังนั้นควรเขียนวันละไม่ต่ำกว่า 100 คำ
* ระมัดระวังอักขระที่มองไม่เห็น สามารถสังเกตได้จาก URL หรือการถอดอักษร เช่น
** zero-width space (ZWSP) ควรตัดออกเพราะถูกใช้เป็นตัวตัดคำ/บรรทัด
** zero-width joiner (ZWJ) และ zero-width non-joiner (ZWNJ) ควรคงไว้เพราะเกี่ยวกับการเปลี่ยนรูปอักษร
* เวลาไปเยี่ยมเยียนโครงการภาษาอื่น คนที่เป็นชาวพื้นถิ่นไม่ได้หมายความว่าจะสะกดคำในภาษาตนเองได้ถูกทุกคน ฉะนั้นควรเตรียมแหล่งอ้างอิงไปด้วย
* acronym ไม่รู้จะเรียกว่าอะไร เพราะไม่มีในภาษาไทย แต่มีในภาษาอื่น คล้ายอักษรย่อ แต่อ่านรวมกันเป็นพยางค์ใหม่ได้ เช่น UNESCO, OPEC, NASA ฯลฯ ศัพท์บัญญัติว่า รัสพจน์ แต่คนทั่วไปก็ไม่รู้จัก
** initialism = อักษรย่อ (เอาอักษรตัวหน้ามาแต่ไม่อ่านเป็นพยางค์ใหม่); abbreviation = คำย่อ (ถูกตัดทอนให้สั้นลง); shortening = การย่อ (หมวดหมู่ที่คลุมทั้งหมด)
* ตัวอักษรในภาษาไทดั้งเดิม ᴬ ᴮ ᶜ ᴰ ซึ่งใช้แทนวรรณยุกต์ แต่ว่า C ในรูปแบบตัวยกไม่มีในยูนิโคด จึงใช้ c แทน
* ข้อความแจ้งเตือนข้อผิดพลาด และเอกสารกำกับ ของแม่แบบและมอดูล ไม่ต้องแปลก็ได้
* [[พิเศษ:หมวดหมู่ที่ต้องการ|หมวดหมู่ที่ต้องการ]] บางหมวดหมู่มีไว้เพื่อติดตามงานเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องสร้างขึ้นมา
* แม่แบบจะเรียกใช้มอดูลมากขึ้น เพราะมอดูลสามารถเขียนได้ยืดหยุ่นกว่า ใช้หน่วยความจำน้อยกว่า และดูแลง่ายกว่าเพราะใช้แม่แบบน้อยลงกว่าเดิม (บางทีใช้แค่อันเดียว)
 
== บันทึก ==
* [[วิกิพจนานุกรม:รายชื่อภาษา]]
* [[วิกิพจนานุกรม:รายชื่อตระกูลภาษาและกลุ่มภาษา]]
* [[วิกิพจนานุกรม:รายชื่ออักษร]]
* [[:หมวดหมู่:หน้าที่มีสคริปต์ผิดพลาด]]
* [[:หมวดหมู่:หมวดหมู่ที่มีป้ายผิดพลาด]]
* [[:หมวดหมู่:การออกเสียง IPA ที่มีสัทอักษรผิด]] (ควรใช้แม่แบบอัตโนมัติหรือคัดลอกข้อมูลมาใหม่)
* [[:หมวดหมู่:แม่แบบและมอดูลที่ต้องการเอกสารการใช้งาน]]
* Main source for Proto-Tai is [https://ecommons.cornell.edu/bitstream/handle/1813/13855/Pittayaporn,%20Pittayawat.pdf?sequence=1 here].
* Some Proto-Southwestern Tai words can be found [http://www.manusya.journals.chula.ac.th/files/essay/Pittayawat%2047-68.pdf here]. (It is not complete list.)
* Main source for Saek is [http://beyond.library.tu.ac.th/cdm/ref/collection/trf_or_th/id/25113 here].
 
[[en:User:Octahedron80]]