ภาษาเขิน แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *riəkᴰᴸ⁴; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เรียก, ภาษาคำเมือง ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก), ภาษาอีสาน เฮียก, ภาษาลาว ຮຽກ (ฮย̂ก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦣᧅ (เฮก), ภาษาไทใหญ่ ႁဵၵ်ႈ (เห้ก), ภาษาพ่าเก ꩭိက် (หิก์), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜀𑜫 (ริก์), ภาษาแสก เหร้ก

การออกเสียง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩁ᩠ᨿᨠ)

  1. (สกรรม) เรียก

คำพ้องความ แก้ไข

เรียก

ภาษาคำเมือง แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *riəkᴰᴸ⁴; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เรียก, ภาษาเขิน ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก), ภาษาอีสาน เฮียก, ภาษาลาว ຮຽກ (ฮย̂ก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦣᧅ (เฮก), ภาษาไทใหญ่ ႁဵၵ်ႈ (เห้ก), ภาษาพ่าเก ꩭိက် (หิก์), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜀𑜫 (ริก์), ภาษาแสก เหร้ก

การออกเสียง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩁ᩠ᨿᨠ)

  1. (สกรรม) เรียก

คำพ้องความ แก้ไข

เรียก