ภาษาเขิน แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC duwngX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ท้วง, ภาษาลาว ທ້ວງ (ท้วง), ภาษาคำเมือง ᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ (ทว้ง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦑᧂᧉ (โท้ง), ภาษาไทใหญ่ တူင်ႉ (ตู๎ง)

คำกริยา แก้ไข

ᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ (ทว้ง) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ)

  1. (อกรรม) ขยับ, ไหวติง, ขยับเขยื้อน

คำนาม แก้ไข

ᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ (ทว้ง)

  1. สัตว์

ภาษาคำเมือง แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC duwngX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ท้วง, ภาษาลาว ທ້ວງ (ท้วง), ภาษาเขิน ᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ (ทว้ง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦑᧂᧉ (โท้ง), ภาษาไทใหญ่ တူင်ႉ (ตู๎ง)

การออกเสียง แก้ไข

  คำศัพท์นี้ต้องการข้อมูลการออกเสียง ถ้าคุณคุ้นเคยกับสัทอักษรสากล กรุณาเพิ่มข้อมูลลงในนี้

คำกริยา แก้ไข

ᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ (ทว้ง) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ)

  1. (อกรรม) ขยับ, ไหวติง, ขยับเขยื้อน