ภาษาเขิน แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຕິ່ງ (ติ่ง), ภาษาคำเมือง ᨲᩥ᩠᩵ᨦ (ติ่ง), ภาษาไทลื้อ ᦎᦲᧂᧈ (ตี่ง), ภาษาไทใหญ่ တိင်ႇ (ติ่ง), ภาษาไทดำ ꪔꪲ꪿ꪉ (ติ่ง), ภาษาไทใต้คง ᥖᥤᥒᥱ (ตี่ง), ภาษาคำตี้ တိင်, ภาษาอาหม 𑜄𑜢𑜂𑜫 (ติง์); อาจร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ติ่ง

คำนาม แก้ไข

ᨲᩥ᩠᩵ᨦ (ติ่ง)

  1. เครื่องดนตรีประเภทดีดชนิดหนึ่ง

รากศัพท์ 2 แก้ไข

อาจร่วมเชื้อสายกับภาษาไทลื้อ ᦎᦲᧂᧈ (ตี่ง, ตอกตะปู, ยิงด้วยเครื่องเย็บกระดาษ)

คำกริยา แก้ไข

ᨲᩥ᩠᩵ᨦ (ติ่ง) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨲᩥ᩠᩵ᨦ)

  1. (อกรรม) เย็บเข้ากัน, มัดห้อยด้วยกัน

ภาษาคำเมือง แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) ติ่ง

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຕິ່ງ (ติ่ง), ภาษาเขิน ᨲᩥ᩠᩵ᨦ (ติ่ง), ภาษาไทลื้อ ᦎᦲᧂᧈ (ตี่ง), ภาษาไทใหญ่ တိင်ႇ (ติ่ง), ภาษาไทดำ ꪔꪲ꪿ꪉ (ติ่ง), ภาษาไทใต้คง ᥖᥤᥒᥱ (ตี่ง), ภาษาคำตี้ တိင်, ภาษาอาหม 𑜄𑜢𑜂𑜫 (ติง์); อาจร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ติ่ง

คำนาม แก้ไข

ᨲᩥ᩠᩵ᨦ (ติ่ง)

  1. เครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง
  2. พิณ
คำพ้องความ แก้ไข
พิณ
ดูเพิ่ม แก้ไข

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ติ่ง, ภาษาลาว ຕິ່ງ (ติ่ง)

คำนาม แก้ไข

ᨲᩥ᩠᩵ᨦ (ติ่ง)

  1. ติ่ง

อ้างอิง แก้ไข

  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

ภาษาไทลื้อ แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

คำนาม แก้ไข

ᨲᩥ᩠᩵ᨦ (ติ่ง) (อักษรไทธรรม ᨲᩥ᩠᩵ᨦ, คำลักษณนาม ᩋᩢ᩠ᨶ)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᦎᦲᧂᧈ (ตี่ง)

คำกริยา แก้ไข

ᨲᩥ᩠᩵ᨦ (ติ่ง) (อักษรไทธรรม ᨲᩥ᩠᩵ᨦ, คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨲᩥ᩠᩵ᨦ)

  1. (อกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᦎᦲᧂᧈ (ตี่ง)