ภาษาไทใหญ่ แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɓɯnᴬ (ฟ้า, สวรรค์); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย บน, ภาษาลาว ບົນ (บ็น), ภาษาอีสาน บน, ภาษาคำเมือง ᨷᩫ᩠ᨶ (บ็น), ภาษาเขิน ᨷᩫ᩠ᨶ (บ็น), ภาษาไทลื้อ ᦥᦳᧃ (บุ̱น) หรือ ᦢᦳᧃ (บุน), ภาษาจ้วง mbwn, ภาษาปู้อี mbenl, ภาษาแสก บึ๋น; ร่วมรากกับ ဝုၼ် (วุน) မူၼ် (มูน) และဝူၼ် (วูน)

คำนาม แก้ไข

မုၼ် (มุน)

  1. ข้างบน

คำกริยาวิเศษณ์ แก้ไข

မုၼ် (มุน)

  1. เหนือ, ข้างบน

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ยืมมาจากภาษาบาลี ปุญฺญ; เทียบภาษาสันสกฤต पुण्य (ปุณฺย); ร่วมรากกับ ဝုၼ် (วุน)

คำนาม แก้ไข

မုၼ် (มุน)

  1. เกียรติ, ศักดิ์ศรี, เกียรติยศ
  2. บุญ, กุศล
การใช้ แก้ไข

ถ้าหมายถึง เกียรติ อาจใช้ประกอบคำว่า ၽုင်း (ผุ๊ง) เป็น မုၼ်ၽုင်း (มุนผุ๊ง)

รากศัพท์ 3 แก้ไข

ร่วมรากกับ မွၼ် (มอ̂น)

คำกริยา แก้ไข

မုၼ် (มุน) (คำอาการนาม လွင်ႈမုၼ်)

  1. (สกรรม) หนุน, ค้ำ