ดูเพิ่ม: โก่น, โก้น, และ โก๋น

ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์โกน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgoon
ราชบัณฑิตยสภาkon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/koːn˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

เทียบภาษาเขมรกลาง កោរ (โกร), កោ (โก, โกน, ถาก); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໂກນ (โกน)

คำกริยา แก้ไข

โกน (คำอาการนาม การโกน)

  1. ขูดผมหรือขนด้วยคมมีด
    โกนผม
คำแปลภาษาอื่น แก้ไข

คำนาม แก้ไข

โกน

  1. (ศาสนาพุทธ) ชื่อวันที่พระสงฆ์ในเมืองไทยปลงผม ตรงกับวันขึ้น 14 ค่ำ หรือ แรม 14 ค่ำ ถ้าเป็นเดือนขาดก็เป็นแรม 13 ค่ำ, คู่กับ วันพระ
  2. (ศาสนาพุทธ, ภาษาปาก) ชื่อวันก่อนวันพระวันหนึ่งได้แก่วันขึ้น 7 ค่ำ ขึ้น 14 ค่ำ แรม 7 ค่ำ และแรม 14 ค่ำ ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม 13 ค่ำ

คำพ้องความ แก้ไข

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ยืมมาจากเขมรเก่าสมัยก่อนอังกอร์ កោន៑ (โกนฺ), កោន្ន៑ (โกนฺนฺ), កុន៑ (กุนฺ), ក្វន៑ (กฺวนฺ, ลูก); เทียบภาษาเขมร កូន (กูน), ภาษามอญ ကောန် (โกน์); ร่วมรากกับ กูน

คำนาม แก้ไข

โกน

  1. (ร้อยกรอง) ลูก

ภาษาเขมรเหนือ แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

เทียบภาษาเขมร កូន (กูน)

การออกเสียง แก้ไข

คำนาม แก้ไข

โกน

  1. ลูก (ของคนหรือสัตว์)
  2. ต้นอ่อน
  3. สิ่งของที่เล็กกว่าในประเภทเดียวกัน

ภาษาอีสาน แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໂກນ (โกน)

คำนาม แก้ไข

โกน

  1. โพรง

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

โกน (คำอาการนาม การโกน)

  1. กรน