ดูเพิ่ม: มอฺง และ ม่อง

ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์มอง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmɔɔng
ราชบัณฑิตยสภาmong
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mɔːŋ˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

จากภาษาจีนยุคกลาง (MC mjang|mjangH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน เบิ่ง, ภาษาลาว ເບິ່ງ (เบิ่ง) และ ມອງ (มอง), ภาษาไทลื้อ ᦙᦸᧂ (มอ̂ง), ภาษาไทใหญ่ မွင်း (ม๊อ̂ง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥒᥰ (ม๊อ̂ง)

คำกริยา แก้ไข

มอง (คำอาการนาม การมอง)

  1. มุ่งดู

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ມອງ (มอง), ภาษาไทดำ ꪣꪮꪉ (มอง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥒᥰ (ม๊อ̂ง)

คำนาม แก้ไข

มอง

  1. เครื่องจับปลาชนิดหนึ่งจำพวกอวน แต่เล็กสั้น และตาถี่กว่าอวน ใช้ในแม่น้ำลำคลอง

รากศัพท์ 3 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทใหญ่ မွင်း (ม๊อ̂ง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥒᥰ (ม๊อ̂ง)

คำนาม แก้ไข

มอง

  1. ฆ้องขนาดเล็ก เรียกว่า ฆ้องมอง

ภาษาเลอเวือะตะวันตก แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

มอง

  1. รอ, คอย

ภาษาเลอเวือะตะวันออก แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

มอง

  1. รอ, คอย